ชื่องานวิจัย : โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
ผู้แต่ง : ปารยะ   อาศนะเสน
ชื่อวารสาร : Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
ปีที่ : 7
ฉบับที่ : 1
ปีที่วิจัย : 2009
หน่วยงาน/องค์กร/สถาบัน(หลัก) : คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
บทคัดย่อไทย-อังกฤษ(Abstract) :

      โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้เป็นโรคที่เกิดจากปฏิกิริยาภูมิไวเกินพึ่งอิมมูโนกลอบูลินอีชนิดที่ 1 เกิดที่เยื่อบุจมูก มีอาการน้ำมูกไหลคัดจมูกคันในจมูก และจาม ปัจจุบันแบ่งเป็นชนิดเป็นครั้งคราว และเป็นตลอดโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้อาจพบร่วมกับโรคหืดหูน้ำหนวก หรือโพรงข้างจมูกอักเสบผู้ป่วยโรคนี้จะมีคุณภาพชีวิตด้วยลงการรักษาประกอบด้วยการหลีกเลี่ยงสารก่อภูมแพ้การใช้ยาและอิมมูนบำบัด.

คำสำคัญ:  โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้อิมมูนบำบัด

Allergic rhinitis (AR) is a disease characterized by a symptomatic disorder of the nose, which is induced after exposure to an allergen via an IgE-mediated inflammation. AR symptoms include rhinorrhea, nasal obstruction, nasal itching and sneezing. Previous studies have classified AR into seasonal AR or perennial AR. A different classification distinguishing between intermittent AR and persistent AR has been proposed in the publication entitled “Allergic Rhinitis and its Impact on Asthma” (2001). AR may also be a co-morbidity in patients with asthma, otitis media or sinusitis. The literature shows that AR impairs the quality of life, work performance, social life and school performance. The burden of AR underlines the importance of appropriate management strategies, which include allergen avoidance, pharmacotherapyand allergen immunotherapy.

 

Key words: allergic rhinitis, allergen immunotherapy

เอกสารฉบับเต็ม(PDF) : โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
ลิงค์ไปยังเว็ปหลัก(เอกสารฉบับเต็ม) : –
บทความสั้น(Text): –
ลิงค์ไปยังเว็ปหลัก(บทความขนาดสั้น) : –
เจ้าของงานวิจัย : ปารยะ อาศนะเสน และคณะ

โมบายแอปพลิเคชัน

 

กรมการแพทย์แผนไทยฯ


สามารถติดต่อเราผ่าน Line

 

ได้แล้ววันนี้

ติดตาม กองการแพทย์ทางเลือก

ผ่านทางโซเชียลมีเดีย​ได้ที่

       


กองการแพทย์ทางเลือก
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
อาคาร 2 ชั้น 6 และชั้น 7 กระทรวงสาธารณสุข
ถนนติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทรศัพท์ : 02 591 7007 ต่อ 2607
โทรสาร : 02 149 5637
อีเมล์ : Thaicam2019@gmail.com

5921694
This Month : 22081
Total Users : 1531207
Views Today : 4552
Server Time : 2024-09-21